โทรศัพท์ 1358
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจด้วยโมเดลเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Enterprise)
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจด้วยโมเดลเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Enterprise)
ประชาสัมพันธ์รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจด้วยโมเดลเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Enterprise) ภายใต้โครงการยกระดับธุรกิจ SMEs ด้วยการประยุกต์ใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 6 กิจการ ดำเนินการโดย ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ บริษัท ออซั่ม เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
26 มิ.ย. 2567
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์อัพไซเคิล (Upcycled product)
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์อัพไซเคิล (Upcycled product)
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์อัพไซเคิล (Upcycled product) โครงการการยกระดับธุรกิจ SMEs ด้วยการประยุกต์ใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ดำเนินการโดยศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ บริษัท โพรแอค เน็ตเวิร์ค จำกัด เป้าหมาย 4 กิจการ
26 มิ.ย. 2567
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับกระบวนการผลิตพลังงานและเชื้อเพลิงจากชีวมวล (Biomass)
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับกระบวนการผลิตพลังงานและเชื้อเพลิงจากชีวมวล (Biomass)
รับสมัครผู้ประกอบการ SMEs เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับกระบวนการผลิตพลังงานและเชื้อเพลิงจากชีวมวล (Biomass) โครงการการยกระดับธุรกิจ SME ด้วยการประยุกต์ใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG โครงการการยกระดับธุรกิจ SME ด้วยการประยุกต์ใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 วัตถุประสงค์เพื่อเพื่อพัฒนาและยกระดับกระบวนการผลิตพลังงานและเชื้อเพลิงจากชีวมวล (Biomass) ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนผลิตเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตามแนวคิด BCG และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ กลุ่มเป้าหมาย : วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ภาคการผลิตที่จดทะเบียนพาณิชย์ / นิติบุคคล / โรงงาน ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิต หรืออื่นๆ จำนวน 3 กิจการ ระยะเวลาดำเนินโครงการ : ปัจจุบัน - 15 กันยายน 2567 ระยุกต์ใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG
25 มิ.ย. 2567
"นายก เศรษฐา" หนุนผู้ประกอบการไทยพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส ให้สอดคล้องความต้องการผู้บริโภคในจีน
"นายก เศรษฐา" หนุนผู้ประกอบการไทยพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส ให้สอดคล้องความต้องการผู้บริโภคในจีน
"นายก เศรษฐา" หนุนผู้ประกอบการไทยพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส ให้สอดคล้องความต้องการผู้บริโภคในจีน นายชัย วัชรงค์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารไทย โดยเฉพาะเครื่องปรุงรสไทยให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น เพิ่มมูลค่าวัตถุดิบจากท้องถิ่น สู่การส่งออกในตลาดต่างประเทศ ยกระดับรายได้ผู้ประกอบการอาหารไทย พร้อมสนับสนุนแนวทางให้แก่ผู้ประกอบไทยที่สนใจตลาดจีน พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรสให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในจีน ซึ่งตลาดที่มีผู้บริโภคชื่นชอบอาหารและเครื่องปรุงรสไทยจำนวนมาก ทั้งนี้ ปัจจุบันวัตถุดิบและเครื่องปรุงรสไทยได้รับความนิยมในกลุ่มผู้บริโภคชาวจีนเป็นอย่างมาก สอดคล้องกับข้อมูลจากสำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ (สคต.) ณ เมืองเซียะเหมิน สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งระบุว่า มีผู้บริโภคชาวจีนจำนวนมากที่นิยมและชื่นชอบอาหารไทย สะท้อนได้จากร้านอาหารไทยในจีนมีการเติบโตต่อเนื่อง โดยผู้ประกอบการร้านอาหารส่วนใหญ่มักเลือกใช้เครื่องปรุงรสไทยในการดำเนินธุรกิจร้านอาหาร เนื่องจากเครื่องปรุงรสของไทยมีรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ ดีต่อสุขภาพ และมีช่องทางการจำหน่ายที่หลากหลาย เช่น ในร้านสะดวกซื้อ ห้างสรรพสินค้า หรือ บนแพลตฟอร์มออนไลน์ รวมถึงตรงกับกระแสแนวโน้มเรื่องการรักสุขภาพในปัจจุบันที่สูงขึ้น ทำให้ผู้บริโภคชาวจีนมีความใส่ใจทางด้านสุขภาพและรสชาติอาหารมากขึ้น จึงนับเป็นโอกาสสำคัญสำหรับผู้ประกอบการไทยที่จะสามารถเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าในอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสของไทย ไปสู่ตลาดจีนเพิ่มขึ้นได้ โดยทางสำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองเซียะเหมินฯ ได้เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรสของไทยไว้ ดังนี้ 1) เน้นรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ เนื่องจากเครื่องปรุงรสแต่ละอย่างของไทย มีกลิ่นและรสสัมผัสที่แตกต่างกัน ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว 2) ควรใช้วัตถุดิบธรรมชาติในการผลิต และหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี เนื่องจากผู้บริโภคจีนให้ความสำคัญกับสุขภาพ 3) ประชาสัมพันธ์ถึงข้อมูลด้านวัตถุดิบที่นำมาผลิตเครื่องปรุงรส เนื่องจากเครื่องปรุงรสไทยหลายชนิดมีสมุนไพรและเครื่องเทศเป็นส่วนประกอบ ทำให้มีคุณสมบัติทางยา และบำรุงสุขภาพ นอกจากนี้ ควรมีการจำกัดปริมาณของน้ำตาลและโซเดียมในเครื่องปรุงที่ใช้ให้อยู่ในปริมาณต่ำ เพื่อให้ตรงกับเทรนด์การดูแลสุขภาพของผู้บริโภคชาวจีน 4) เน้นทำการตลาดออนไลน์มากขึ้น เช่น บนเว็บไซต์ โซเชียลมีเดียต่างๆ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร (Food Intelligence Center) กระทรวงอุตสาหกรรม พบว่าในปี 2566 ไทยส่งออกเครื่องปรุงรสเป็นอันดับ 6 ของโลก มูลค่า 977 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอัตราเติบโตเฉลี่ย 5 ปีที่ร้อยละ 7.6 โดยตลาดส่งออกเครื่องปรุงรสของไทยอยู่ใน 3 ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ยุโรป และอเมริกาเหนือ นายชัย ย้ำว่า นายกรัฐมนตรีพร้อมสนับสนุนอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสของไทย ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของ Soft Power ด้านอาหาร ที่สามารถขยายตลาดการส่งออกได้มากขึ้น ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัวของเครื่องปรุงไทย ทั้งช่วยชูรสชาติ สร้างความกลมกล่อม และเสริมสีสันให้อาหาร รวมทั้ง หลากหลายเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภค ทั้งนี้ จีนถือเป็นตลาดใหญ่ที่มีศักยภาพ เป็นประโยชน์กับผู้ประกอบการหากได้รับการผลักดันและส่งเสริมให้เติบโต และแข่งขันได้ในตลาดต่างประเทศ #dipromcenter7 #DIPROM #ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่7 #กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ที่มา (mgronline, 2567) Website : https://mgronline.com/uptodate/detail/9670000049778
10 มิ.ย. 2567
ผลิตภัณฑ์ชุมชน แอนนาผ้าไทย ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน แอนนาผ้าไทย ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ของ แอนนาผ้าไทย ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product) โดยการสร้างสรรค์นำเอาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ของท้องถิ่น มาผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประณีตศิลป์ให้มีความโดดเด่น มีคุณค่า มีคุณประโยชน์ สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ทันกับยุคสมัย (Trend)
08 พ.ค. 2567
ผลิตภัณฑ์ชุมชน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีตัดเย็บผ้า (บ้านหนองแล้ง) ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีตัดเย็บผ้า (บ้านหนองแล้ง) ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ของ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีตัดเย็บผ้า (บ้านหนองแล้ง) ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product) โดยการสร้างสรรค์นำเอาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ของท้องถิ่น มาผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประณีตศิลป์ให้มีความโดดเด่น มีคุณค่า มีคุณประโยชน์ สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ทันกับยุคสมัย (Trend)
08 พ.ค. 2567
ผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มทอผ้าไหมโนนสวาง ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มทอผ้าไหมโนนสวาง ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ของ กลุ่มทอผ้าไหมโนนสวาง ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product) โดยการสร้างสรรค์นำเอาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ของท้องถิ่น มาผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประณีตศิลป์ให้มีความโดดเด่น มีคุณค่า มีคุณประโยชน์ สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ทันกับยุคสมัย (Trend)
08 พ.ค. 2567
ผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มทอผ้าหนองคูใหญ่ ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มทอผ้าหนองคูใหญ่ ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ของ กลุ่มทอผ้าหนองคูใหญ่ ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product) โดยการสร้างสรรค์นำเอาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ของท้องถิ่น มาผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประณีตศิลป์ให้มีความโดดเด่น มีคุณค่า มีคุณประโยชน์ สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ทันกับยุคสมัย (Trend)
08 พ.ค. 2567
ผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มทอผ้าลายลูกแก้วนิคมเขต 7 ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มทอผ้าลายลูกแก้วนิคมเขต 7 ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ของ กลุ่มทอผ้าลายลูกแก้วนิคมเขต 7 ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product) โดยการสร้างสรรค์นำเอาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ของท้องถิ่น มาผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประณีตศิลป์ให้มีความโดดเด่น มีคุณค่า มีคุณประโยชน์ สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ทันกับยุคสมัย (Trend)
08 พ.ค. 2567
ผลิตภัณฑ์ชุมชนวิสาหกิจชุมชนผ้าทอมือบ้านบอน ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ชุมชนวิสาหกิจชุมชนผ้าทอมือบ้านบอน ภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product)
ผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนผ้าทอมือบ้านบอน ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้กิจกรรมสืบสาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ประณีตศิลป์ เชิงพาณิชย์ (Premium Product) โดยการสร้างสรรค์นำเอาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ของท้องถิ่น มาผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประณีตศิลป์ให้มีความโดดเด่น มีคุณค่า มีคุณประโยชน์ สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ทันกับยุคสมัย (Trend)
08 พ.ค. 2567